อุเทนถวาย

อุเทนถวาย

“ศุภมาส” นั่งหัวโต๊ะรับฟังแกนนำอุเทนถวาย อุเทนถวาย 27 ก.พ. 67 – “ศุภมาส” นั่งหัวโต๊ะรับฟังแกนนำอุเทนถวาย ก่อนมอบข้อเรียกร้องให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลคลี่คลายข้อพิพาทให้เร็วที่สุด เผยการแก้ปัญหาต้องเคารพและยึดหลักกฎหมาย ย้ำยังรับนักศึกษาชั้นปี 1 ปีการศึกษา 2567 ตามปกติ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 14.00 น. ที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.)   น.ส.ศุภมาส อิศรภักดี รมว.กระทรวง อว. เดินทางมารับข้อเรียกร้องของศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่า สมาคมศิษย์เก่าอุเทนถวาย สมาคมผู้ปกครองและครูอุเทนถวายพร้อมกับ น.ส.สุชาดา แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.อว., น.ส.เพชรดาว โต๊ะมีนา ที่ปรึกษา รมว.อว., นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี (นายอนุทิน ชาญวีรกุล), นางกรณิศ งามสุคนธ์รัตน์ ประธานคณะทำงาน รมว.อว., นายเพิ่มสุข สัจจาภิวัฒน์ ปลัด ก.อว., […]

Bitcoin

Bitcoin

1 Bitcoin เท่ากับ 2 ล้านบาทอีกครั้ง ก่อนปรากฏการณ์ Halving ในอีก 58 วัน Bitcoin ความเคลื่อนไหวราคา Bitcoin ล่าสุด พุ่งขึ้นมาซื้อขายที่ประมาณ 56,000-57,000 ดอลลาร์ หรือราว 2 ล้านบาท คิดเป็นการปรับตัวขึ้นมา 33% นับตั้งแต่ต้นปี และปรับตัวขึ้นมาราว 140% ตลอดช่วง 1 ปีที่ผ่านมา จากปัจจัยหนุนทั้งเงินทุนที่ไหลเข้ากองทุน Bitcoin Spot ETF และการเก็งกำไรก่อนหน้าปรากฏการณ์ Bitcoin Halving ที่จะเกิดขึ้นในอีก 58 วันข้างหน้า จากการคาดการณ์ของเว็บไซต์ nicehash.com  นอกจากนี้ ข้อมูลจาก CoinGecko เผยว่า มูลค่าตลาดรวมของสินทรัพย์ดิจิทัลพุ่งแตะ 2.2 ล้านล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 77 ล้านล้านบาท หลังจากที่เคยร่วงลงไปเหลือเพียงประมาณ 8.2 แสนล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 28.7 […]

ถนนพระราม 2

ถนนพระราม 2

‘รศ.ดร.สุทธิศักดิ์’ อธิบายชัดๆ ทำไมถนนพระราม 2 สร้างยากและสร้างนาน! ถนนพระราม 2 29 ก.พ.2567 – รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โพสต์รูปและเนื้อหาในหัวข้อ “ถนนพระราม 2 ทำไมถึงสร้างยาก เเละสร้างนานจริงหรือไม่” ระบุว่า ถ้าพูดว่าสร้างยากก็เห็นจะจริง เพราะชั้นดินที่เป็นดินฐานรากของถนนนั้น เป็นดินเหนียวอ่อนที่ตกตะกอนใหม่ในช่วงท้ายๆของยุคที่กรุงเทพฯยังเป็นทะเล เเละน้ำทะเลค่อยๆลดระดับลง จนเกิดตะกอนดินเหนียวอ่อนที่มีความอ่อนเเละหนาที่สุดเเห่งหนึ่งในประเทศ สังเกตได้ง่ายๆ คือริมถนนด้านที่ติดกับทะเล บางพื้นที่ยังมีลักษณะของป่าชายเลนให้เห็นอยู่ นั่นคือสภาพเดิมๆดังนั้น เมื่อนำดินไปถมบดอัดขึ้นมาเป็นถนน ซึ่งถึงเเม้จะบดอัดดินตัวถนนดีอย่างไร เเต่ดินเหนียวอ่อนใต้ฐานรากยังคงอ่อนอยู่ จึงทำให้ถนนเกิดการทรุดตัวจมลงในดินฐานรากอย่างมากหลังจากก่อสร้างเสร็จ จึงนำมาสู่ประเด็นที่สองคือ ถนนสร้างนานจริงหรือไม่ ซึ่งถ้ามองอย่างเป็นธรรมก็คงพูดไม่ได้ว่าสร้างนาน เเต่ด้วยเพราะเมื่อสร้างไปเเล้วก็ทรุดตัว ปล่อยไปนานๆน้ำก็เริ่มจะท่วมเพราะถนนทรุดตัวต่ำกว่าระดับน้ำท่วมถึง ดังนั้นก็ต้องมีการซ่อมโดยการบดอัดถนนยกระดับขึ้นไป ซึ่งเนื่องจากเป็นถนนที่มีความยาว ประกอบกับเปิดการจราจรให้เป็นเส้นหลักลงภาคใต้ไปเเล้ว ก็เลยไม่สามารถปิดถนนทั้งหมดทีเดียวเเล้วซ่อมได้ ก็เลยต้องซ่อมเป็นช่วงๆต่อเนื่องไป ทำให้เหมือนถนนยังสร้างไม่เคยเสร็จ เพราะพอถมเเล้วทรุดหายไปเรื่อยๆ (รูปที่ 1 ผมถ่ายตอนปี 2008 ขณะที่มีการถมยกระดับถนนขึ้น จะเห็นระดับถนนเก่าที่ทรุดลงไปเทียบกันถนนใหม่ที่ถมยกระดับขึ้นมา) ทั้งนี้ หากมองถนนที่อยู่ทิศตรงข้ามกัน […]